|
|
|
| ความเห็นที่9 from: 4704068(192.168.36.184) DT: 30-03-2549 10:56:53 internet 1 - network คืออะไร - internet คืออะไร, ประวัติเป็นอย่างไร - network application คืออะไร
- network เข้าถึงทุกอย่าง เช่น ธุรกิจ, ครัวเรือน, ภาครัฐ, การศึกษา โดยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว - ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ทำให้โรงงานใหญ่ต้องนำ Networking hardware, Computers, Software, E-Commerce (E-Business) เข้ามาใช้ บริษัทมากมายต้องมีการพัฒนาด้าน planning, implementation, management and upgrade
- Transmission Media รู้ว่าคืออะไร ข้อดี-ข้อเสียแต่ละอย่าง 1. Copper Wires ได้แก่ Twisted pair, Coaxial cable 2. Glass Fibers 3. Radio 4. Wireless 5. Microwave 6. Infrared
- ทำไมจึงต้องมี network software - ทำไมจึงต้องมีโปรโตคอล - Protocol Suites คือ ชุดของโปรโตคอลที่ออกแบบสำหรับใช้งานร่วมกัน โดยผู้ออกแบบจะต้องวิเคราะห์ปัญหาการสื่อสาร, แบ่งปัญหาหลักเป็นปัญหาย่อย, และออกแบบโปรโตคอลให้เหมาะกับปัญหาย่อย
- 7 เลเยอร์ ISO คืออะไร แต่ละเลเยอร์ทำหน้าที่อะไร 1. Physical 2. Data Link 3. Network 4. Transport 5. Session 6. Presentation 7. Application
- 4 เลเยอร์ Internet Layering Architecture 1. Link 2. Network 3. Transport 4. Application
- การพัฒนาซอฟต์แวร์ในแต่ละเลเยอร์ มีข้อบังคับดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์แต่ละเลเยอร์จะต้องขึ้นกับซอฟต์แวร์ที่อยู่เลเยอร์ต่ำกว่าเท่านั้น 2. ซอฟต์แวร์ที่เลเยอร์ n ทั้งของผู้รับ-ส่งจะต้องมีโปรโตคอลตัวเดียวกัน
- เทคนิคการสร้างความน่าเชื่อถือของการสื่อสารบนเครือข่าย โดยค่าต้องไม่เปลี่ยน, ข้อมูลมาครบ, ข้อมูลไม่หาย และข้อมูลไม่ซ้ำซ้อน 1. parity bit 2. checksum 3. CRC
- Out-of-order delivery คือ แพกเกตข้อมูลอาจมาไม่ครบ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยการ sequencing โดยผู้ส่งจะแนบเลขลำดับให้แต่ละแพกเกต ผู้รับจะตรวจสอบตามเลขลำดับว่าได้รับแพกเกตครบหรือไม่
- Duplicate delivery คือ แพกเกตอาจเกิดการซ้ำซ้อนระหว่างส่งผ่านข้อมูล ใช้วิธี sequencing เพื่อตรวจสอบเลขลำดับว่ามาซ้ำกันหรือไม่
- Lost packets คือ การสูญหายข้อมูล อาจเกิดจาก bit error, incorrect length แก้ไขโดยการใช้ Retransmission เพื่อตรวจสอบแพกเกตที่สูญหาย โดยผู้รับจะส่งข้อความแพกเกตที่ได้รับไปให้ผู้ส่งเพื่อตรวจสอบว่ามีแพกเกตไหนที่สูญหายบ้าง จากนั้นผู้ส่งก็จะส่งแพกเกตที่สูญหายไปให้อีกครั้ง แต่บางครั้งก็อาจทำให้เกิด Duplicate Packets
- Flow control เป็น mechanisms ที่โปรโตคอลนำมาใช้เพื่อให้ผู้รับสามารถควบคุมอัตราการส่งผ่านข้อมูล ในกรณีที่อาจจะเกิด Data Overrun โดยมีวิธีในการควบคุม 2 วิธี 1. Stop-and-go 2. Sliding window
- การออกแบบโปรโตคอล จะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ โดยคำนึงถึง ประสิทธิภาพ ประโยชน์ที่ได้รับ ความคุ้มค่าไปพร้อมๆกัน |
|
|
|
|
| ความเห็นที่8 from: 4704068(192.168.36.184) DT: 29-03-2549 16:00:24 4-2 Software Technology - การพัฒนาซอฟต์แวร์ ตาม SDLC 7 ขั้น 1. การกำหนดปัญหา(Problem Definition) หรือ การเลือกสิ่งที่จะนำมาพัฒนาระบบงาน(Project Identification and Selection) นับว่าเป็นขั้นตอนแรกในวงจรของการพัฒนา ขั้นตอนนี้มักจะเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการประชุมของฝ่ายบริหาร เพื่อที่จะค้นหาวิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ และ มุ่งหวังที่จะใช้แทนวิธีการทำงานแบบเดิม ปรับปรุงวิธีการทำงาน หรือ เพื่อสร้างรูปแบบบริการแบบใหม่ เป็นต้น
2. การวิเคราะห์ปัญหา(Analysis) เมื่อผ่านขั้นตอนการการกำหนด หรือ เลือกโครงการที่จะทำการพัฒนาแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็จะต้องนำเอาสิ่งที่ได้จากขั้นตอนแรกมาทำการวิเคระห์ โดยนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำการ วิเคราะห์ระบบ ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญมาก และไม่ควรทำอย่างรีบเร่ง เนื่องจากโครงการพัฒนาจำนวนมากที่ประสปความล้มเหลวเพราะการวิเคราะห์ และออกแบบที่ไม่ถูกต้อง
3. การออกแบบ(Design) จะเป็นการนำเอาสิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์ มาออกแบบเป็นระบบงาน สำหรับการพัฒนาในขั้นตอนถัดไป เช่น การออกแบบ Form , Report, Dialoques, Interface, Files & Database, Program & Process design เป็นต้น
4. การพัฒนาระบบงาน(Development) หรือ การสร้างระบบงานจริง ขั้นตอนนี้จะเป็นขั้นตอนที่นำเอาสิ่งที่ได้จากการออกแบบระบบมาทำการ Coding หรือ สร้างตัวระบบงานขึ้นมาใช้งานจริง ผู้ที่มีบทบาทสูงในขั้นตอนนี้คือ Programmer นั่นเอง
5. การทดสอบ(Testing) การทดสอบระบบจะเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของระบบงานที่ถูกสร้างขึ้นมาว่าตรงตามกับความต้องการจริงๆ หรือไม่ การ Test จะมีด้วยกัน หลายระดับ กล่าวคือ 5.1 การทดสอบในระดับ Module หรือ Unit test เป็นการทดสอบการทำงานโดยแยกเป็นส่วนย่อยๆ ในแต่ละ module 5.2 การทดสอบ Integrate test จะนำเอา module ย่อยๆ มาทำการทดสอบการทำงานเป็นกระบวนการร่วมกัน 5.3 System test การทดสอบโดยนำเอาโปรแกรมย่อยมาทดสอบการทำงานร่วมกันทั้งระบบ 5.4 Acceptance test เป็นการทดสอบขั้นสุดท้าย โดย user (มี 2 ระดับ Alfa testing using simulated data, Beta testing using real data)
6. การติดตั้ง(Deployment) Direct installation, Pararell Installation, Single location installation, Phased installation
7. การบำรุงรักษา(Maintenance) Obtain Maintenance Request, Transforming Request into Change, Designing Change, Implementing Change
- การพัฒนาซอฟต์แวร์โดยหน่วยงาน มี 2 แบบ 1. การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโครงสร้าง (Structured Methodologies) 2. การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Methodologies)
- การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโครงสร้าง (Structured Methodologies) เป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเป็นขั้นเป็นตอน ใช้แนวคิดแบบระดับบนสู่ระดับล่าง (Top - down design) โดยการพิจารณางานหรือภารกิจหลักๆ จากนั้นจึงแตกแยกย่อยเป็นงานเล็กๆ จนถึงขั้นตอนที่แสดงรายละเอียดการปฏิบัติงานต่ำสุด และ พิจารณางานหรือภารกิจ (Process oriented) มากกว่าการพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูล (Data oriented) นอกจากนั้น การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโครงสร้างจะใช้ผังงานต่างๆ ที่จำเป็นประกอบ เช่น Structured Flow Chart, Structured Chart และ Data Flow Diagram - DFD ฯลฯ
- การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Methodologies) โดยมองว่า วัตถุจะมีองค์ประกอบของตัวแปร (Data Attribute) พร้อมกระบวนการ (Method - Function), วัตถุ ต่างๆ อาจถูกจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ (Class) ซึ่งหมายถึงว่าวัตถุนั้นๆ มีองค์ประกอบตัวแปร หรือ กระบวนการที่คล้ายๆ กัน และถ้าทอดให้กันและกันได้ (Inheritance), นอกจากนั้นวัตถุอาจมีความสัมพันธ์ (Relation) กับวัตถุหรือกลุ่มวัตถุ (Class) อื่นๆ ได้, วัตถุหรือกลุ่มวัตถุจะถูกกำหนด (Implement) ให้เป็นโปรแกรม
- เข้าใจรูป Object Oriented Methodologies
- การสร้างโปรแกรม-ระบบต้นแบบ เป็นวิธีที่ผู้พัฒนาจะทดลองสร้างโปรแกรมตัวอย่างที่เลียนแบบการทำงานจริง ในราคาต้นทุนต่ำและใช้เวลาพัฒนาเร็ว, เพื่อให้ผู้ใช้งานทดลองตรวจสอบว่าโปรแกรมได้ตอบสนองตรงตามความต้องการครบถ้วนหรือไม่ เมื่อผู้ใช้งานพอใจแล้วผู้พัฒนาซอฟต์แวร์จึงไปดำเนินการพัฒนาโปรแกรมจริง (Production program) ต่อไป, นิยมใช้โปรแกรมช่วยในการพัฒนา (CASE) ได้แก่ Rational ROSE, SPARK UML, POWER designer ฯลฯ
- การพัฒนาซอฟต์แวร์ 3 แบบ 1. การพัฒนาซอฟต์แวร์โดยผู้ใช้งาน 2. การจัดจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์ หน่วยงานมิได้เป็นผู้พัฒนาซอฟต์แวร์เองแต่จะทำหน้าที่เพียงกำหนดคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่ต้องการ Request For Proposal-RFP 3. การจัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์ขององค์กรโดยการจัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่มีการพัฒนาไว้แล้วในเชิงพาณิชย์มาใช้ในหน่วยงาน
- ลิขสิทธิ์ในซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ และ ข้อยกเว้นเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ด้านซอฟต์แวร์
- หน้าที่ของบุคลากรทาง IT ได้แก่ การดำเนินการกับเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ, การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม, การวิเคราะห์และออกแบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล, การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์, การบริหารงานในหน่วยประมวลผลข้อมูล |
|
|
|
|
| ความเห็นที่7 from: 4704068(192.168.36.184) DT: 29-03-2549 15:02:59 4-1 Software Technology - ซอฟต์แวร์ คือ หมายถึง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่บอกให้ส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ทำงาน (Telling
the machine what to do), หมายความรวมไปถึงการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น
Modem, CD ROM, Drive เป็นต้น, เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทำงานของมันได้ ซึ่งต่าง
กับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ บางครั้งอาจรวมถึง ผลลัพธ์ต่างๆ เช่น ผลการพิมพ์ที่ได้
จากเครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารการพัฒนาซอฟต์แวร์ ตลอดจนคู่มือการใช้ ในการสั่งงานใดๆ ให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการนั้นต้องอาศัยซอฟต์แวร์เป็นตัวเชื่อมระหว่างคน หรือผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะ
ทำอะไรไม่ได้เลยถ้าขาดชุดคำสั่ง เพราะคอมพิวเตอร์เป็นเพียงอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งที่จะไม่มีการตัดสินใจ ไม่มี
การคำนวณ หรือจัดการงานใด ๆ
- การประมวลผล มี 2 แบบ 1. Batch processing เป็นอย่างไร 2. On-line processing เป็นอย่างไร
- Client / Server Computing เป็นอย่างไร
- ประเภทซอฟต์แวร์ 2 แบบ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ได้แก่ OS, Language Translators, Utility Programs 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ได้แก่ Programming Language, Assembly Language,
Application Software
- ภาษาคอมพิวเตอร์ ถือว่าเป็นภาษาประดิษฐ์ (Artificial Language) ที่รวบรวมคำสั่งเฉพาะสำหรับการ
ประมวลผลของคอมพิวเตอร์
- ภาษาคอมพิวเตอร์ 4 รุ่น 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) ใช้อักขระ 0 และ 1 2. การพัฒนาภาษาเขียนโปรแกรม (Programming Language) โคบอล 3. เป็นการปรับปรุงโครงสร้างขีดความสามารถของภาษารุ่นที่ 2 4. เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน ได้แก่ ภาษาสอบถาม(SQL), ตัวสร้างโปรแกรม
- การเขียนคำสั่งแบบต่าง ๆ แบ่งออกเป็นกลุ่มได้ดังนี้ 1. คอมไพเลอร์ (Compiler) 2. SQL 3. JCL, script, Batch Command 4. MACRO Language
- CASE (Computer Aided Software Engineering) เครื่องมือที่เป็นทั้งชนิดอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติที่ช่วยสนับสนุนวิธีการต่าง ๆ ทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยเครื่องมือพวกนี้นำมารวมกันทำงานเป็นระบบได้
- Database Management System คือ...
- Application Software คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ อาจแบ่งได้เป็นซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป และซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) ของแต่ละบริษัท การคำนวณดอกเบี้ยเงินฝากหรือเงินกู้สำหรับงานธนาคาร (Interest Computation) การทำสินค้าคงคลัง (Stock)
- ประเภทของ Application Software มี 2 แบบ 1. แบบทั่วไป 2. แบบเฉพาะกิจ |
|
|
|
|
| ความเห็นที่6 from: 4704068(192.168.36.184) DT: 29-03-2549 14:26:47 2-3 CPU - องค์ประกอบได้แก่ Registers, Arithmetic and Logic Unit, Internal CPU Interconnection, Control Unit
- ALU คืออะไร - อัลกอลิทึมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ AND, OR, NOT, xOR, One-bit Adder, One-bit with carry adder, Full
adder
- Control Unit ทำหน้าที่อะไร
- PC (Program Counter) จะมีหน่วยความจำที่คอยควบคุมการทำงานโดยทำหน้าที่เพิ่มค่า โดยการเพิ่มค่า
เท่าไหร่ขึ้นอยู่กับความยาวของคำสั่ง โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มค่าทีละ 1
- The Instruction Decoder มี Instruction Register (IR) บรรจุคำสั่งปัจจุบันที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะ
ทำงานด้วย
- Registers เพื่อให้ผู้ใช้อ้างถึงในการเขียนโปรแกรมได้, หากมีตัวเดียวมักเรียกว่า Accumulator, เพื่อทำ
งานของระบบโดยเฉพาะ
Memory Read ของ CPU มีลำดับดังนี้ 1. address ไป MAR(Memory Address Register) บรรจุ address ของ memory ที่ CPU จะทำงานด้วย 2. รอสัญญาณอ่าน 3. MAR ไปกับสัญญาณที่ถูกต้อง 4. ข้อมูล ไป MDR(Memory Data Register) บรรจุ content ของ memory ที่ CPU จะทำงานด้วย
Memory Write ของ CPU มีลำดับดังนี้ 1. address ไป MAR 2. ค่าที่จะเก็บ ไป MDR 3. รอสัญญาณเขียน 4. MAR ไปกับสัญญาณที่ถูกต้อง 5. MDR ไปข้อมูล
- เข้าใจการทำงานของรูป Simple Processor
- การทำงานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ ในส่วนของ repeat มี 2 ขั้น 1. Fetch phase 2. Execute phase
- Fetch phase 1. (PC) -----> (MAR) (6) 2. Memory read / fetch the instruction (9) 3. (MDR) ------> (IR) (1) 4. (PC) + 1 ------> (PC) (8) 5. Goto EXECUTE (22)
- Execute phase ขึ้นอยู่กับตัวกระทำ(operand) if (operand == ADD) 1. (คำสั่ง ADD) -----> (MAR) (5) 2. Memory read; wait until done (9) 3. (ADDER) -----> (A) (4) 4. Goto FETCH (21)
if (operand == GOTO) 1. (คำสั่ง GOTO) -----> (PC) (7) 2. Goto FETCH (21)
if (operand == STOP) STOP (23) |
|
|
|
|
| |
|
|
| ความเห็นที่4 from: 4704068(192.168.36.184) DT: 29-03-2549 11:56:58 2-1 ระบบคอมพิวเตอร์ - Program Concept เป็นอย่างไร
- program คืออะไร program คือ การทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยแต่ละขั้นจะมีการ arithmetic or logical operation
และในแต่ละการทำงาน จะต้องอาศัยความแตกต่างของ control signals
- Function of Control Unit แต่ละการทำงาน โคดจะถูกจัดเตรียมขึ้นมา เช่น Add, Move... เพื่อให้ฮาร์ดแวร์แต่ละชิ้นรับโคดและออกมา
เป็นสัญญาณควบคุม
- Components ได้แก่ The Control Unit and the Arithmetic and Logic Unit ที่เป็นองค์ประกอบของ
CPU, Data and instructions need เพื่อให้ได้ผลลัพธ์(input/output), Temporary storage(main
memory)
- Computer Components: Top Level View ได้แก่ CPU, Memory, I/O Module โดยใน CPU ประกอบ
ไปด้วย PC(Program Counter)+IR(Instruction Register)+MAR(Memory Address Register)
+MBR(Memory Buffer Register)+I/O AR(I/O Address Register)+I/O BR(I/O Buffer Register)
- Instruction Cycle มี 2 ขั้นตอน คือ Fetch, Execute โดย start -> Fetch Next Instruction -> Execute Instruction -> halt
- การทำงานของ Fetch Cycle 1. Program Counter (PC) holds address of next instruction to fetch 2. Processor fetches instruction from memory location pointed to by PC 3. Increment PC 4. Instruction loaded into Instruction Register (IR) 5. Processor interprets instruction and performs required actions
- การทำงานของ Execute Cycle มีขั้นตอนอย่างไร
- Interrupts การขัดจังหวะของสัญญาณ อาจเกิดได้กับ Program, Timer, I/O, Hardware
- เข้าใจการทำงานของ Program Flow Control
- การทำงานของ Interrupt Cycle 1. Added to instruction cycle 2. Processor checks for interrupt 3. If no interrupt, fetch next instruction 4. If interrupt pending: อาจมีการ หยุดการทำงานของโปรแกรมปัจจุบัน, เซฟข้อมูล, เริ่มต้นที่ตำแหน่ง
interrupt, Process interrupt, กู้ข้อมูลและเริ่มต้นใหม่
- เข้าใจรูปการทำงานของ Instruction Cycle with Interrupts
- Multiple Interrupts มีการจัดการ 2 แบบ 1. Disable interrupts ได้แก่ แบบ sequential 2. Define priorities ได้แก่ แบบ nested
- Connecting มี 3 ประเภท 1. Memory Connection เช่น read, write, timing 2. Input/Output Connection เช่น input(Receive data from peripheral, Send data to computer),
output(Receive data from computer, Send data to peripheral), Receive control signals from
computer, Send control signals to peripherals, Receive addresses from computer, Send
interrupt signals (control) 3. CPU Connection เช่น อ่านคำสั่งและข้อมูล, เขียนข้อมูลหลังจากประมวลผล, ส่งสัญญาณไปยังส่วนอื่นๆ,
- Buses คืออะไร - Parallel and Serial Bus คืออะไร - Bus structure มี 3 แบบ คือ Point-to-point connection bus, Common bus, Multiple bus - Data Bus คืออะไร data กับ instruction ไม่ต่างอะไรกัน - Address Bus จะระบุแหล่งของข้อมูล เช่น CPU จำเป็นที่ต้องอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ - Control Bus เป็นแหล่งข้อมูลของ control และ timing เช่น เมื่อเกิด Memory read/write signal,
Interrupt request, Clock signals - ชนิดของ Bus มี 2 แบบ คือ Dedicated(แยกช่องทางของข้อมูลและที่อยู่ออกจากกัน) และ Multiplexed(
แชร์ช่องทางกัน ข้อเสียคือ มีการควบคุมที่ซับซ้อน)
- Bus Arbitration การตัดสินใจในบัส จะมีมากกว่า 1 โมดูลที่ควบคุมบัส เช่น CPU+DMA controller แต่ ณ
เวลาหนึ่งจะมีเพียง 1 โมดูลเท่านั้นที่ควบคุมบัส นอกจากนั้น การตัดสินใจอาจจะเป็นแบบการรวมศูนย์หรือ
แบบกระจาย - Centralised Arbitration(แบบรวมศูนย์) จะเป็นอุปกร์ตัวเดียวที่ควบคุมการเข้าถึงบัส ซึ่งอาจจะเป็นส่วน
ของ CPU หรืออื่นๆ - Distributed Arbitration(แบบกระจาย) แต่ละโมดูลจะมีสิทธิ์ในการควบคุม
- Timing มี 2 แบบ คือ Synchronous Timing, Asynchronous Timing(read/write)
- PCI Bus (Peripheral Component Interconnection Bus) ใน line จะประกอบด้วย Systems
lines+Address & Data+Interface Control+Arbitration+Error lines ส่วนที่อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ ได้แก่
Interrupt lines+Cache support+64-bit Bus Extension+JTAG/Boundary Scan |
|
|
|
|
| |
|
|
| |
|
|
| |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น